บริษัท เจเอ็มพี พิสเทค(ไทยแลนด์) จำกัด

เลขที่ 1 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 47 ยูนิต4703 (ริเวอร์6) ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาธร กรุงเทพ 10120

Troll Free Number

(66) 02-114-7448
(66) 02-016-2688
(66) 092-327-0777
(66) 098-246-5445

5 แนวทางปฏิบัติ การขนส่งตู้คอนเทนเนอร์ ทางทะเล และการใช้สายรัด Composite

การขนส่งสินค้าด้วยเรือ ทางทะเล เป็นส่วนสำคัญของระบบการค้าระหว่างประเทศ ทั้งในอดีต และปัจจุบัน เพราะเป็นการขนส่งประเภทเดียว ที่สามารถบรรทุกสินค้าได้ครั้งละจำนวนมาก และราคาส่ง ถูกกว่าการขนส่งรูปแบบอื่น ทั้งซัพพลายเออร์ และ ผู้ส่งสินค้า จึงต้องหันมาตระหนัก ถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เมื่อต้องทำการเตรียมสินค้า การใช้ Composite Strip มีส่วนช่วยในเรื่องนี้ สำหรับการขนส่งทางทะเลระหว่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็น เรื่องการแตกหัก ความเสียหาย  ความความชื้น หรือ น้ำหนักของสินค้า

Composite

โดยทั่วไปแล้ว การขนส่งทางทะเล สินค้าจะถูกขนส่งในตู้คอนเทนเนอร์ แต่ในบางครั้ง สินค้าอาจขนส่งแบบ Break Bulk หรือ ความหมายก็คือ สินค้าที่ต้องขนส่งในลักษณะที่มีขนาดใหญ่มาก จนไม่สามารถบรรจุเข้าตู้คอนเทนเนอร์ได้ มักอยู่ในรูปของหีบห่อขนาดใหญ่มาก ๆ นั่นเอง แล้วจะทำอย่างไรดี หากเราต้องขนส่งสินค้า ด้วยเรือทางทะเล ซึ่งรายละเอียด ทริค ทั้ง 5 ข้อ ต่อไปนี้จะช่วยให้การขนส่ง เป็นไปอย่างปลอดภัย มากขึ้น

1.การบรรจุ

การบรรจุสินค้า ถือเป็นสิ่งสำคัญที่สุดประการหนึ่ง ของการขนส่งทุกประเภท เพื่อให้แน่ใจว่าสินค้าของคุณ จะถูกขนส่งข้ามมหาสมุทรโดยไม่เกิดความเสียหาย หรือ สูญหาย ต้องพิจารณาการเคลื่อนที่ของเรือ ในระหว่างการเดินทางทางทะเล และ จุดจัดการต่าง ๆ ที่เรือแล่นผ่าน เพราะสินค้า จะเคลื่อนตัวเมื่อเรือแล่นผ่านคลื่น เมื่อมีการขนส่งตู้คอนเทนเนอร์บนรถบรรทุก และ เมื่อถูกยกขึ้นด้วยรถยก อาจมีผลกระทบร้ายแรง

นอกจากนี้ หากตู้คอนเทนเนอร์ มีพื้นที่ว่างเหลือ สิ่งนี้ ก็อาจเป็นปัจจัยหนึ่ง ในการที่จะเพิ่มความเสี่ยง ที่สินค้าของคุณจะเคลื่อนตัว จากด้านหนึ่ง ไปอีกด้านหนึ่ง คุณจำเป็นจะต้อง กำจัดพื้นที่ส่วนที่เหลือนี้ ออกไปให้ได้มากที่สุด อาจเป็นการใช้สายรัด Composite ยึดให้มากที่สุด เท่าที่จะทำได้ในคอนเทนเนอร์ แต่การขนย้ายสินค้าทางทะเล ไม่ใช่ความเสี่ยงเพียงอย่างเดียว ต้องพิจารณาการจัดการสินค้าบนบก ด้วยเช่นกัน สินค้าอาจ หล่น กลิ้ง ลาก หรือ สิ่งต่าง ๆ ที่อาจก่อให้เกิดการสร้างความเสียหาย ให้กับสินค้าของคุณได้ ซึ่งสามารถป้องกันได้ ด้วยสายรัด Composite ที่มีคุณภาพ และ มาตรฐาน

2.การตรวจสอบตู้คอนเทนเนอร์

3. การจัดเก็บสินค้าภายในตู้คอนเทนเนอร์

4. การจัดการเรื่องความชื้น

ความชื้นที่เกิดขึ้นในตู้คอนเทนเนอร์ ระหว่างการขนส่งทางทะเล ทำให้เกิดความเสียหายต่อสินค้า อย่างเช่น การเกิดสนิม เปียก ขึ้นรา ผุพัง ฉีกขาด เป็นต้น สามารถป้องกันได้โดย ใช้สารดูดความชื้น JMP Unisorb Clay Desiccants ของ JMP ได้รับการทดสอบโดย SGS ว่าสามารถ ดูดซับความชื้นได้ 100% ของน้ำหนักตัว ที่ 37 ° 90% RH ช่วยป้องกันสินค้าไม่ให้ได้รับความเสียหาย จากความเปียกชื้นชื้นในอากาศ ณวัตกรรมการออกแบบ จะช่วยให้ไอน้ำกลั่นตัวกลายเป็นเจลอยู่ภายในถุง กันความชื้นป้องกันการรั่วไหล สู่ผลิตภัณฑ์

5. การรักษาความปลอดภัย

ตรวจสอบให้แน่ใจว่าตู้คอนเทนเนอร์ทั้งหมด ได้รับการรักษาความปลอดภัยอย่างถูกต้อง ไม่ควรมีช่องว่างหรือความหละหลวมระหว่างตู้คอนเทนเนอร์ เพื่อหลีกเลี่ยงแรงเสียดสีโดยตรงที่ประตูและการสัมผัส ระหว่างพื้นผิวโลหะกับโลหะ หลีกเลี่ยงการบรรทุกเกินพิกัดและการบรรทุกสินค้าต้องเป็นไปตามมาตรการความปลอดภัยต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับการขนส่งทางทะเล ยึดประตู ล็อค และปิดผนึก สังเกตหมายเลขตราประทับใบตราส่ง และรักษาเอกสาร เกี่ยวกับรายละเอียดของสินค้า และการขนส่ง

การขนส่งสินค้าทางทะเลมีหลากหลายปัจจัย ที่อาจส่งผลให้สินค้าของคุณได้รับความเสียหาย ดังนั้นจึงต้องวางแผนอย่างรัดกุมเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหาย โดยเลือกบริษัทมืออาชีพ เพื่อช่วยในการวางแผนการป้องกันสินค้าเสียหาย บริษัท JMP Thailand สามารถออกแบบ และ ผลิตสินค้าในการป้องกันสินค้าเสียหาย ที่เกิดจากการขนส่งสินค้า ผลิตภัณฑ์ที่เราจำหน่าย เช่น สายรัด Composite Strap แผ่น Paper Slip Sheet ใช้รองสินค้า ทดแทนพาเลทไม้ และ พาเลทพลาสติค สามารถช่วยลดพื้นที่ และ ค่าต้นทุนในการป้องกันความเสียหายได้ เราใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์คุณภาพสูง มีการฝึกอบรมทีมเจ้าหน้าที่ เพื่อให้สามารถดำเนินงานได้ อย่างที่ มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และทันเวลา